วันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2556

9. คำสำคัญ


http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:OVvSxUD-MlEJ:kalai.exteen.com/20051125/entry กล่าวว่า  action research (การวิจัยการกระทำ) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมีความมุ่งหวังที่จะศึกษาหาความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของปัญหาสังคม รวมทั้งธรรมชาติของกลยุทธเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เค เลวิน (K.Lewin) เป็นผู้ริเริ่มใช้คำดังกล่าวในปี ค.ศ.1948
             applied research (การวิจัยประยุกต์) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมุ่งเน้นความสำคัญของประโยชน์ในการปฏิบัติและการบริหารมากยิ่งกว่าประโยชน์ในทางวิชาการ คำว่า การวิจัยประยุกต์ จัดเป็นมโนทัศน์ ซึ่งใช้ร่วมกลุ่มการวิจัยแบบต่าง ๆ ที่มุ่งหวังผลในการปฏิบัติการมากกว่าความก้าวหน้าในทางทฤษฎี
            Basic research (การวิจัยพื้นฐาน) การวิจัยซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการสร้าง และ/หรือทดสอบทฤษฎีในสาขาต่าง ๆ ทางสังคมศาสตร์ การค้นคว้าและสังสมองศ์ความรู้จัดเป็นประเด็นหลักในการวิจัยพื้นฐานซึ่งทำให้การวิจัยประเภทนี้มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการวิจัยประยุกต์ แม้ในความเป็นจริงการวิจัยแต่ละหัวข้อมักมีลักษณะผสมผสาน ทั้งเป็นประโยชน์ทางทฤษฎีและทางปฏิบัติก็ตาม
            Case Study ( การศึกษาเฉพาะกรณี) การวิจัยในลักษณะละเอียดอ่อนและเจาะลึกโดยอาจกำหนดหน่วยการศึกษาในระดับต่าง ๆ กัน เช่น บุคคล กลุ่มบุคคลหรือสถานการณ์เฉพาะ ตามแต่จุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัย การสัมภาษณ์เจาะลึก และ / หรือการสังเกตแบบมีส่วนร่วมตลอดจนการค้นหาเอกสารสำคัญมักเป็นเทคนิควิธีการรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้สำหรับการวิจัยนี้ส่วนข้อมูลที่รวบรวมได้ทักได้รับการวิเคราะห์เชิงตรรกะ การศึกษาเฉพาะกรณีระดับจุลภาพ ซึ่งได้รับการประยุกต์ใช้ในสาขาจิตวิทยาคลินิค มักรู้จักกันในนามของ Clinical method ส่วนในสาขาประวัติศาสตร์ มักใช้ชื่อว่า Case history method การศึกษาเฉพาะกรณีระดับมหภาคมักนิยมใช้ในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาโดยเรียกว่า Field research
           Causal relationship (ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล) ความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่าจะปรากฏเป็นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล ก็ต่อเมื่อครบองค์ประกอบสามประการคือ (ก) ตัวแปรสาเหตุมีสหสัมพันธ์กับตัวแปรผล (ข) ตัวแปรสาเหตุน่าจะปรากฏก่อนตัวแปรผล และ (ค) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลไม่ถูกแทรกซ้อนด้วยตัวแปรอื่นๆ
            Correlational research (การวิจัยสหสัมพันธ์) การวิจัยเชิงปริมาณซึ่งมุ่งศึกษาปรากฏการณ์โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์นั้น ๆ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การวิจัยสหสัมพันธ์ไม่ได้พยายามบังคับค่าตัวแปรอิสระเพียงแต่วัดค่าทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม จากนั้นจึงดำเนินการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วยเทคนิควิธีการทางสถิติ
           Cross sectional research (การวิจัยตัดขวาง) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลเพียงครั้งเดียวในช่วงมิติของเวลา ตามปกติ การวิจัยตัดขวางมักได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อศึกษาประชากรที่ขนาดใหญ่ โดยอาศัยการสุ่มตัวอย่างครั้งเดียวเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร ในความเป็นจริง การวิจัยตัดขวางมีความหมายใกล้เคียงกับการวิจัยสัมพันธ์
          Cross cultural research (การวิจัยข้ามวัฒนธรรม) การวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ซึ่งได้ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมตั้งแต่สองวัฒนธรรมขึ้นไป การวิจัยประเภทนี้เปิดโอกาสให้นักวิจัยสามารถศึกษาธรรมชาติและผลกระทบของวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาข้อจำกัดทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ส่วนมาก นอกจากนี้ การวิจัยในลักษณะดังกล่าวยังช่วยให้นักวิจัยสามารถศึกษาเปรียบเทียบผลการวิจัยในหัวข้อเดียวกัน แต่ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่างกันว่า จะปรากฏข้อสรุปในแนวทางเดียวกันหรือต่างกันได้อีกด้วย
          Data (ข้อมูล) สาระรายละเอียดหรือสิ่งที่รวบรวมได้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าโดยการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม หรือการใช้เอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ลักษณะของข้อมูลอาจเป็นตัวเลข หรือตัวอักษร ส่วนคุณภาพของข้อมูลต้องพิจารณาจากความเชื่อถือได้ (Reliability) ความแม่นตรง (Validity) และความถูกต้อง (Accuracy)
           Longtitudinal research (การวิจัยระยะยาว) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลหลายครั้งในช่วงมิติของเวลาช่วงห่างของการรวบรวมข้อมูลแต่ละครั้งอาจกำหนดเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปีก็ย่อมขึ้นกับจุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัยเป็นสำคัญ อนึ่งการวิจัยระยะยาวยังหมายความรวมถึงการศึกษาแนวโน้ม (Trend study) การศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียวหลายครั้ง (Panel study) และการศึกษาหลายกลุ่มตัวอย่างหลายครั้ง (Cohort study)
           Operational definition (นิยามปฏิบัติการ) นิยามซึ่งไม่เพียงให้ความหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรที่มุ่งศึกษา แต่ยังกล่าวรวมถึงระเบียบวิธีการวัดค่าของตัวแปรดังกล่าวอีกด้วย
                       Statistical control (การควบคุมทางสถิติ) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อแยกผลกระทบของตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวแปรขึ้นไป ออกจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคู่ใดคู่หนึ่ง ตัวแปรที่ถูกใช้ในการควบคุมดังกล่าวก็คือ ปัจจัยทดสอบ (Test factor) ซึ่งเอ็ม โรเซ็นเบิร์ก (M. Rosenberg) ได้จำแนกออกเป็นตัวแปรประเภทต่าง ๆ เช่น ตัวแปรนำ ตัวแปรแทรก ตัวแปรกด ตัวแปรแปลกปลอม และตัวแปรเงื่อนไข เป็นต้น
         Sampling (การสุ่มตัวอย่าง)กระบวนการเลือกกลุ่มบุคคล หรือกลุ่มตัวการที่มีขนาดจำกัด เพื่อให้เป็นตัวแทนของประชากรที่มีขนาดใหญ่ การสุ่มตัวอย่างอาจดำเนินการได้ทั้งที่มีลักษณะอาศัย และไม่อาศัยกรอบทฤษฏีความน่าจะเป็นในการวิจัยสำรวจ การสุ่มตัวอย่างที่ประยุกต์ใช้ก็คือประเภทที่อยู่ภายใต้กรอบทฤษฎีความน่าจะเป็น
         Subject (ตัวการ) บุคคลหรือหน่วยของการศึกษาซึ่งนักวิทยาศาสตร์สังคมมุ่งใช้ในการดำเนินงานศึกษาค้นคว้า คำว่า Subject ถูกนำมาใช้เพื่อแยกสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์สังคมศึกษาให้แตกต่างจากสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติศึกษา ซึ่งเรียกว่า Object บางครั้งในการวิจัยทดลอง ตัวการอาจถูกเรียกว่า ผู้มีส่วนร่วมในการทดลอง (Experimental participant)
        Variable (ตัวแปร) คุณภาพ หรือ ลักษณะการซึ่งประกอบขึ้นด้วยค่าต่าง ๆ ตั้งแต่สองค่าขึ้นไป การวัดค่าตัวแปร อาจจำแนกได้อย่างน้อยเป็น 4 ระดับ คือ (ก) ระดับจัดกลุ่ม (ข) ระดับจัดลำดับ (ค) ระดับอันตรภาค และ (ง) ระดับอัตราส่วน
         Administrative Research ( การวิจัยทางการบริหาร ) เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของการวิจัย 3 แนวทางคือแนวปฏิฐานนิยม แนวตีความ และแนวการวิพากษ์
        Critical Approach (การวิจัยตามแนววิพากษ์ ) เป็นการวิจัยที่มีจุดเน้นอยู่ที่การปฏิบัติ เป้าหมายของการวิจัยตามแนววิพากษ์ คือการวิพากษ์วิจารณ์เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น
        Classroom Research ( การวิจัยในชั้นเรียน ) เป็นการวิจัยปฏิบัติการ ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นการแสวงหาคำตอบอย่างเป็นกระบวนการและระบบที่น่าเชื่อถือเท่านั้น แต่เป็นการคิดค้นพัฒนาที่เน้นการแก้ปัญหาในสภาพการณ์หรือบริบทของชั้นเรียน โดยครูผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน



http://kalai.exteen.com/20051125/entry กล่าวว่า  action research (การวิจัยการกระทำ) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมีความมุ่งหวังที่จะศึกษาหาความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของปัญหาสังคม รวมทั้งธรรมชาติของกลยุทธเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เค เลวิน (K.Lewin) เป็นผู้ริเริ่มใช้คำดังกล่าวในปี ค.ศ.1948
            applied research (การวิจัยประยุกต์) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมุ่งเน้นความสำคัญของประโยชน์ในการปฏิบัติและการบริหารมากยิ่งกว่าประโยชน์ในทางวิชาการ คำว่า การวิจัยประยุกต์ จัดเป็นมโนทัศน์ ซึ่งใช้ร่วมกลุ่มการวิจัยแบบต่าง ๆ ที่มุ่งหวังผลในการปฏิบัติการมากกว่าความก้าวหน้าในทางทฤษฎี
             Basic research (การวิจัยพื้นฐาน) การวิจัยซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการสร้าง และ/หรือทดสอบทฤษฎีในสาขาต่าง ๆ ทางสังคมศาสตร์ การค้นคว้าและสังสมองศ์ความรู้จัดเป็นประเด็นหลักในการวิจัยพื้นฐานซึ่งทำให้การวิจัยประเภทนี้มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการวิจัยประยุกต์ แม้ในความเป็นจริงการวิจัยแต่ละหัวข้อมักมีลักษณะผสมผสาน ทั้งเป็นประโยชน์ทางทฤษฎีและทางปฏิบัติก็ตาม
             Case Study ( การศึกษาเฉพาะกรณี) การวิจัยในลักษณะละเอียดอ่อนและเจาะลึกโดยอาจกำหนดหน่วยการศึกษาในระดับต่าง ๆ กัน เช่น บุคคล กลุ่มบุคคลหรือสถานการณ์เฉพาะ ตามแต่จุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัย การสัมภาษณ์เจาะลึก และ / หรือการสังเกตแบบมีส่วนร่วมตลอดจนการค้นหาเอกสารสำคัญมักเป็นเทคนิควิธีการรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้สำหรับการวิจัยนี้ส่วนข้อมูลที่รวบรวมได้ทักได้รับการวิเคราะห์เชิงตรรกะ การศึกษาเฉพาะกรณีระดับจุลภาพ ซึ่งได้รับการประยุกต์ใช้ในสาขาจิตวิทยาคลินิค มักรู้จักกันในนามของ Clinical method ส่วนในสาขาประวัติศาสตร์ มักใช้ชื่อว่า Case history method การศึกษาเฉพาะกรณีระดับมหภาคมักนิยมใช้ในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาโดยเรียกว่า Field research
            Causal relationship (ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล) ความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่าจะปรากฏเป็นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล ก็ต่อเมื่อครบองค์ประกอบสามประการคือ (ก) ตัวแปรสาเหตุมีสหสัมพันธ์กับตัวแปรผล (ข) ตัวแปรสาเหตุน่าจะปรากฏก่อนตัวแปรผล และ (ค) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลไม่ถูกแทรกซ้อนด้วยตัวแปรอื่น ๆ
            Correlational research (การวิจัยสหสัมพันธ์) การวิจัยเชิงปริมาณซึ่งมุ่งศึกษาปรากฏการณ์โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์นั้น ๆ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การวิจัยสหสัมพันธ์ไม่ได้พยายามบังคับค่าตัวแปรอิสระเพียงแต่วัดค่าทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม จากนั้นจึงดำเนินการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วยเทคนิควิธีการทางสถิติ
            Cross sectional research (การวิจัยตัดขวาง) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลเพียงครั้งเดียวในช่วงมิติของเวลา ตามปกติ การวิจัยตัดขวางมักได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อศึกษาประชากรที่ขนาดใหญ่ โดยอาศัยการสุ่มตัวอย่างครั้งเดียวเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร ในความเป็นจริง การวิจัยตัดขวางมีความหมายใกล้เคียงกับการวิจัยสัมพันธ์
            Cross cultural research (การวิจัยข้ามวัฒนธรรม) การวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ซึ่งได้ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมตั้งแต่สองวัฒนธรรมขึ้นไป การวิจัยประเภทนี้เปิดโอกาสให้นักวิจัยสามารถศึกษาธรรมชาติและผลกระทบของวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาข้อจำกัดทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ส่วนมาก นอกจากนี้ การวิจัยในลักษณะดังกล่าวยังช่วยให้นักวิจัยสามารถศึกษาเปรียบเทียบผลการวิจัยในหัวข้อเดียวกัน แต่ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่างกันว่า จะปรากฏข้อสรุปในแนวทางเดียวกันหรือต่างกันได้อีกด้วย
             Data (ข้อมูล) สาระรายละเอียดหรือสิ่งที่รวบรวมได้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าโดยการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม หรือการใช้เอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ลักษณะของข้อมูลอาจเป็นตัวเลข หรือตัวอักษร ส่วนคุณภาพของข้อมูลต้องพิจารณาจากความเชื่อถือได้ (Reliability) ความแม่นตรง (Validity) และความถูกต้อง (Accuracy)
             Longtitudinal research (การวิจัยระยะยาว) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลหลายครั้งในช่วงมิติของเวลาช่วงห่างของการรวบรวมข้อมูลแต่ละครั้งอาจกำหนดเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปีก็ย่อมขึ้นกับจุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัยเป็นสำคัญ อนึ่งการวิจัยระยะยาวยังหมายความรวมถึงการศึกษาแนวโน้ม (Trend study) การศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียวหลายครั้ง (Panel study) และการศึกษาหลายกลุ่มตัวอย่างหลายครั้ง (Cohort study)
           Operational definition (นิยามปฏิบัติการ) นิยามซึ่งไม่เพียงให้ความหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรที่มุ่งศึกษา แต่ยังกล่าวรวมถึงระเบียบวิธีการวัดค่าของตัวแปรดังกล่าวอีกด้วย
           Statistical control (การควบคุมทางสถิติ) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อแยกผลกระทบของตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวแปรขึ้นไป ออกจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคู่ใดคู่หนึ่ง ตัวแปรที่ถูกใช้ในการควบคุมดังกล่าวก็คือ ปัจจัยทดสอบ (Test factor) ซึ่งเอ็ม โรเซ็นเบิร์ก (M. Rosenberg) ได้จำแนกออกเป็นตัวแปรประเภทต่าง ๆ เช่น ตัวแปรนำ ตัวแปรแทรก ตัวแปรกด ตัวแปรแปลกปลอม และตัวแปรเงื่อนไข เป็นต้น
           Sampling (การสุ่มตัวอย่าง)กระบวนการเลือกกลุ่มบุคคล หรือกลุ่มตัวการที่มีขนาดจำกัด เพื่อให้เป็นตัวแทนของประชากรที่มีขนาดใหญ่ การสุ่มตัวอย่างอาจดำเนินการได้ทั้งที่มีลักษณะอาศัย และไม่อาศัยกรอบทฤษฏีความน่าจะเป็นในการวิจัยสำรวจ การสุ่มตัวอย่างที่ประยุกต์ใช้ก็คือประเภทที่อยู่ภายใต้กรอบทฤษฎีความน่าจะเป็น
           Subject (ตัวการ) บุคคลหรือหน่วยของการศึกษาซึ่งนักวิทยาศาสตร์สังคมมุ่งใช้ในการดำเนินงานศึกษาค้นคว้า คำว่า Subject ถูกนำมาใช้เพื่อแยกสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์สังคมศึกษาให้แตกต่างจากสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติศึกษา ซึ่งเรียกว่า Object บางครั้งในการวิจัยทดลอง ตัวการอาจถูกเรียกว่า ผู้มีส่วนร่วมในการทดลอง (Experimental participant)
            Variable (ตัวแปร) คุณภาพ หรือ ลักษณะการซึ่งประกอบขึ้นด้วยค่าต่าง ๆ ตั้งแต่สองค่าขึ้นไป การวัดค่าตัวแปร อาจจำแนกได้อย่างน้อยเป็น 4 ระดับ คือ (ก) ระดับจัดกลุ่ม (ข) ระดับจัดลำดับ (ค) ระดับอันตรภาค และ (ง) ระดับอัตราส่วน
            Administrative Research ( การวิจัยทางการบริหาร ) เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของการวิจัย 3 แนวทางคือแนวปฏิฐานนิยม แนวตีความ และแนวการวิพากษ์
            Critical Approach (การวิจัยตามแนววิพากษ์ ) เป็นการวิจัยที่มีจุดเน้นอยู่ที่การปฏิบัติ เป้าหมายของการวิจัยตามแนววิพากษ์ คือการวิพากษ์วิจารณ์เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น
            Classroom Research ( การวิจัยในชั้นเรียน ) เป็นการวิจัยปฏิบัติการ ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นการแสวงหาคำตอบอย่างเป็นกระบวนการและระบบที่น่าเชื่อถือเท่านั้น แต่เป็นการคิดค้นพัฒนาที่เน้นการแก้ปัญหาในสภาพการณ์หรือบริบทของชั้นเรียน โดยครูผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

 
https://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:DwIs29aCrQcJ:www.dss.nrru.ac.th/download/sangpet.doc กล่าวว่า  action research (การวิจัยการกระทำ) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมีความมุ่งหวังที่จะศึกษาหาความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของปัญหาสังคม รวมทั้งธรรมชาติของกลยุทธเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เค เลวิน (K.Lewin) เป็นผู้ริเริ่มใช้คำดังกล่าวในปี ..1948
           applied research (การวิจัยประยุกต์) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมุ่งเน้นความสำคัญของประโยชน์ในการปฏิบัติและการบริหารมากยิ่งกว่าประโยชน์ในทางวิชาการ คำว่า การวิจัยประยุกต์ จัดเป็นมโนทัศน์ ซึ่งใช้ร่วมกลุ่มการวิจัยแบบต่าง ที่มุ่งหวังผลในการปฏิบัติการมากกว่าความก้าวหน้าในทางทฤษฎี
            Basic research (การวิจัยพื้นฐาน) การวิจัยซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการสร้าง และ/หรือทดสอบทฤษฎีในสาขาต่าง ทางสังคมศาสตร์ การค้นคว้าและสังสมองศ์ความรู้จัดเป็นประเด็นหลักในการวิจัยพื้นฐานซึ่งทำให้การวิจัยประเภทนี้มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการวิจัยประยุกต์ แม้ในความเป็นจริงการวิจัยแต่ละหัวข้อมักมีลักษณะผสมผสาน ทั้งเป็นประโยชน์ทางทฤษฎีและทางปฏิบัติก็ตาม
            Case Study ( การศึกษาเฉพาะกรณี) การวิจัยในลักษณะละเอียดอ่อนและเจาะลึกโดยอาจกำหนดหน่วยการศึกษาในระดับต่าง กัน เช่น บุคคล กลุ่มบุคคลหรือสถานการณ์เฉพาะ ตามแต่จุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัย การสัมภาษณ์เจาะลึก และ / หรือการสังเกตแบบมีส่วนร่วมตลอดจนการค้นหาเอกสารสำคัญมักเป็นเทคนิควิธีการรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้สำหรับการวิจัยนี้ส่วนข้อมูลที่รวบรวมได้ทักได้รับการวิเคราะห์เชิงตรรกะ การศึกษาเฉพาะกรณีระดับจุลภาพ ซึ่งได้รับการประยุกต์ใช้ในสาขาจิตวิทยาคลินิค มักรู้จักกันในนามของ Clinical method ส่วนในสาขาประวัติศาสตร์ มักใช้ชื่อว่า Case history method การศึกษาเฉพาะกรณีระดับมหภาคมักนิยมใช้ในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาโดยเรียกว่า Field research
             Causal relationship (ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล) ความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่าจะปรากฏเป็นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล ก็ต่อเมื่อครบองค์ประกอบสามประการคือ () ตัวแปรสาเหตุมีสหสัมพันธ์กับตัวแปรผล () ตัวแปรสาเหตุน่าจะปรากฏก่อนตัวแปรผล และ () ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลไม่ถูกแทรกซ้อนด้วยตัวแปรอื่น
             Correlational research (การวิจัยสหสัมพันธ์) การวิจัยเชิงปริมาณซึ่งมุ่งศึกษาปรากฏการณ์โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์นั้น กล่าวอีกนัยหนึ่ง การวิจัยสหสัมพันธ์ไม่ได้พยายามบังคับค่าตัวแปรอิสระเพียงแต่วัดค่าทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม จากนั้นจึงดำเนินการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วยเทคนิควิธีการทางสถิติ
             Cross sectional research (การวิจัยตัดขวาง) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลเพียงครั้งเดียวในช่วงมิติของเวลา ตามปกติ การวิจัยตัดขวางมักได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อศึกษาประชากรที่ขนาดใหญ่ โดยอาศัยการสุ่มตัวอย่างครั้งเดียวเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร ในความเป็นจริง การวิจัยตัดขวางมีความหมายใกล้เคียงกับการวิจัยสัมพันธ์
             Cross cultural research (การวิจัยข้ามวัฒนธรรม) การวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ซึ่งได้ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมตั้งแต่สองวัฒนธรรมขึ้นไป การวิจัยประเภทนี้เปิดโอกาสให้นักวิจัยสามารถศึกษาธรรมชาติและผลกระทบของวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาข้อจำกัดทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ส่วนมาก นอกจากนี้ การวิจัยในลักษณะดังกล่าวยังช่วยให้นักวิจัยสามารถศึกษาเปรียบเทียบผลการวิจัยในหัวข้อเดียวกัน แต่ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่างกันว่า จะปรากฏข้อสรุปในแนวทางเดียวกันหรือต่างกันได้อีกด้วย
             Data (ข้อมูล) สาระรายละเอียดหรือสิ่งที่รวบรวมได้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าโดยการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม หรือการใช้เอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ลักษณะของข้อมูลอาจเป็นตัวเลข หรือตัวอักษร ส่วนคุณภาพของข้อมูลต้องพิจารณาจากความเชื่อถือได้ (Reliability) ความแม่นตรง (Validity) และความถูกต้อง (Accuracy)
              Longtitudinal research (การวิจัยระยะยาว) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลหลายครั้งในช่วงมิติของเวลาช่วงห่างของการรวบรวมข้อมูลแต่ละครั้งอาจกำหนดเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปีก็ย่อมขึ้นกับจุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัยเป็นสำคัญ อนึ่งการวิจัยระยะยาวยังหมายความรวมถึงการศึกษาแนวโน้ม (Trend study) การศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียวหลายครั้ง (Panel study) และการศึกษาหลายกลุ่มตัวอย่างหลายครั้ง (Cohort study)
             Operational definition (นิยามปฏิบัติการ) นิยามซึ่งไม่เพียงให้ความหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรที่มุ่งศึกษา แต่ยังกล่าวรวมถึงระเบียบวิธีการวัดค่าของตัวแปรดังกล่าวอีกด้วย
             Statistical control (การควบคุมทางสถิติ) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อแยกผลกระทบของตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวแปรขึ้นไป ออกจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคู่ใดคู่หนึ่ง ตัวแปรที่ถูกใช้ในการควบคุมดังกล่าวก็คือ ปัจจัยทดสอบ (Test factor) ซึ่งเอ็ม โรเซ็นเบิร์ก (M. Rosenberg) ได้จำแนกออกเป็นตัวแปรประเภทต่าง เช่น ตัวแปรนำ ตัวแปรแทรก ตัวแปรกด ตัวแปรแปลกปลอม และตัวแปรเงื่อนไข เป็นต้น
              Sampling (การสุ่มตัวอย่าง)กระบวนการเลือกกลุ่มบุคคล หรือกลุ่มตัวการที่มีขนาดจำกัด เพื่อให้เป็นตัวแทนของประชากรที่มีขนาดใหญ่ การสุ่มตัวอย่างอาจดำเนินการได้ทั้งที่มีลักษณะอาศัย และไม่อาศัยกรอบทฤษฏีความน่าจะเป็นในการวิจัยสำรวจ การสุ่มตัวอย่างที่ประยุกต์ใช้ก็คือประเภทที่อยู่ภายใต้กรอบทฤษฎีความน่าจะเป็น
            Subject (ตัวการ) บุคคลหรือหน่วยของการศึกษาซึ่งนักวิทยาศาสตร์สังคมมุ่งใช้ในการดำเนินงานศึกษาค้นคว้า คำว่า Subject ถูกนำมาใช้เพื่อแยกสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์สังคมศึกษาให้แตกต่างจากสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติศึกษา ซึ่งเรียกว่า Object บางครั้งในการวิจัยทดลอง ตัวการอาจถูกเรียกว่า ผู้มีส่วนร่วมในการทดลอง (Experimental participant)
           Variable (ตัวแปร) คุณภาพ หรือ ลักษณะการซึ่งประกอบขึ้นด้วยค่าต่าง ตั้งแต่สองค่าขึ้นไป การวัดค่าตัวแปร อาจจำแนกได้อย่างน้อยเป็น 4 ระดับ คือ () ระดับจัดกลุ่ม () ระดับจัดลำดับ () ระดับอันตรภาค และ () ระดับอัตราส่วน
           Administrative Research ( การวิจัยทางการบริหาร ) เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของการวิจัย 3 แนวทางคือแนวปฏิฐานนิยม แนวตีความ และแนวการวิพากษ์
           Critical Approach (การวิจัยตามแนววิพากษ์ ) เป็นการวิจัยที่มีจุดเน้นอยู่ที่การปฏิบัติ เป้าหมายของการวิจัยตามแนววิพากษ์ คือการวิพากษ์วิจารณ์เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น
           Classroom Research ( การวิจัยในชั้นเรียน ) เป็นการวิจัยปฏิบัติการ ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นการแสวงหาคำตอบอย่างเป็นกระบวนการและระบบที่น่าเชื่อถือเท่านั้น แต่เป็นการคิดค้นพัฒนาที่เน้นการแก้ปัญหาในสภาพการณ์หรือบริบทของชั้นเรียน โดยครูผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน



สรุป  คำสำคัญในการทำวิจัยมีดังนี้  action research (การวิจัยการกระทำ) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมีความมุ่งหวังที่จะศึกษาหาความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติ ของปัญหาสังคม รวมทั้งธรรมชาติของกลยุทธเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เค เลวิน (K.Lewin) เป็นผู้ริเริ่มใช้คำดังกล่าวในปี ค.ศ.1948
              applied research (การวิจัยประยุกต์) การวิจัยซึ่งผู้ดำเนินการมุ่งเน้นความสำคัญของประโยชน์ในการปฏิบัติและการบริหารมากยิ่งกว่าประโยชน์ในทางวิชาการ คำว่า การวิจัยประยุกต์ จัดเป็นมโนทัศน์ ซึ่งใช้ร่วมกลุ่มการวิจัยแบบต่าง ๆ ที่มุ่งหวังผลในการปฏิบัติการมากกว่าความก้าวหน้าในทางทฤษฎี
              Basic research (การวิจัยพื้นฐาน) การวิจัยซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการสร้าง และ/หรือทดสอบทฤษฎีในสาขาต่าง ๆ ทางสังคมศาสตร์ การค้นคว้าและสังสมองศ์ความรู้จัดเป็นประเด็นหลักในการวิจัยพื้นฐานซึ่งทำให้การวิจัยประเภทนี้มีลักษณะที่แตกต่างไปจากการวิจัยประยุกต์ แม้ในความเป็นจริงการวิจัยแต่ละหัวข้อมักมีลักษณะผสมผสาน ทั้งเป็นประโยชน์ทางทฤษฎีและทางปฏิบัติก็ตาม
              Case Study ( การศึกษาเฉพาะกรณี) การวิจัยในลักษณะละเอียดอ่อนและเจาะลึกโดยอาจกำหนดหน่วยการศึกษาในระดับต่าง ๆ กัน เช่น บุคคล กลุ่มบุคคลหรือสถานการณ์เฉพาะ ตามแต่จุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัย การสัมภาษณ์เจาะลึก และ / หรือการสังเกตแบบมีส่วนร่วมตลอดจนการค้นหาเอกสารสำคัญมักเป็นเทคนิควิธีการรวบรวมข้อมูลที่นิยมใช้สำหรับการวิจัยนี้ส่วนข้อมูลที่รวบรวมได้ทักได้รับการวิเคราะห์เชิงตรรกะ การศึกษาเฉพาะกรณีระดับจุลภาพ ซึ่งได้รับการประยุกต์ใช้ในสาขาจิตวิทยาคลินิค มักรู้จักกันในนามของ Clinical method ส่วนในสาขาประวัติศาสตร์ มักใช้ชื่อว่า Case history method การศึกษาเฉพาะกรณีระดับมหภาคมักนิยมใช้ในสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาโดยเรียกว่า Field research
              Causal relationship (ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล) ความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่าจะปรากฏเป็นความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล ก็ต่อเมื่อครบองค์ประกอบสามประการคือ (ก) ตัวแปรสาเหตุมีสหสัมพันธ์กับตัวแปรผล (ข) ตัวแปรสาเหตุน่าจะปรากฏก่อนตัวแปรผล และ (ค) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลไม่ถูกแทรกซ้อนด้วยตัวแปรอื่น ๆ
               Correlational research (การวิจัยสหสัมพันธ์) การวิจัยเชิงปริมาณซึ่งมุ่งศึกษาปรากฏการณ์โดยไม่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงปรากฏการณ์นั้น ๆ กล่าวอีกนัยหนึ่ง การวิจัยสหสัมพันธ์ไม่ได้พยายามบังคับค่าตัวแปรอิสระเพียงแต่วัดค่าทั้งตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม จากนั้นจึงดำเนินการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วยเทคนิควิธีการทางสถิติ
              Cross sectional research (การวิจัยตัดขวาง) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลเพียงครั้งเดียวในช่วงมิติของเวลา ตามปกติ การวิจัยตัดขวางมักได้รับการประยุกต์ใช้เพื่อศึกษาประชากรที่ขนาดใหญ่ โดยอาศัยการสุ่มตัวอย่างครั้งเดียวเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของประชากร ในความเป็นจริง การวิจัยตัดขวางมีความหมายใกล้เคียงกับการวิจัยสัมพันธ์
               Cross cultural research (การวิจัยข้ามวัฒนธรรม) การวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ซึ่งได้ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมตั้งแต่สองวัฒนธรรมขึ้นไป การวิจัยประเภทนี้เปิดโอกาสให้นักวิจัยสามารถศึกษาธรรมชาติและผลกระทบของวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมมนุษย์ ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาข้อจำกัดทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ส่วนมาก นอกจากนี้ การวิจัยในลักษณะดังกล่าวยังช่วยให้นักวิจัยสามารถศึกษาเปรียบเทียบผลการวิจัยในหัวข้อเดียวกัน แต่ดำเนินการภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่างกันว่า จะปรากฏข้อสรุปในแนวทางเดียวกันหรือต่างกันได้อีกด้วย
              Data (ข้อมูล) สาระรายละเอียดหรือสิ่งที่รวบรวมได้ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไม่ว่าโดยการสังเกต การสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม หรือการใช้เอกสารสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ลักษณะของข้อมูลอาจเป็นตัวเลข หรือตัวอักษร ส่วนคุณภาพของข้อมูลต้องพิจารณาจากความเชื่อถือได้ (Reliability) ความแม่นตรง (Validity) และความถูกต้อง (Accuracy)
              Longtitudinal research (การวิจัยระยะยาว) การวิจัยซึ่งอาศัยรูปแบบการวิจัยสำรวจโดยวางแผนการรวบรวมข้อมูลหลายครั้งในช่วงมิติของเวลาช่วงห่างของการรวบรวมข้อมูลแต่ละครั้งอาจกำหนดเป็นรายสัปดาห์ รายเดือน หรือรายปีก็ย่อมขึ้นกับจุดมุ่งหมายและปัญหาของการวิจัยเป็นสำคัญ อนึ่งการวิจัยระยะยาวยังหมายความรวมถึงการศึกษาแนวโน้ม (Trend study) การศึกษากลุ่มตัวอย่างเดียวหลายครั้ง (Panel study) และการศึกษาหลายกลุ่มตัวอย่างหลายครั้ง (Cohort study)
             Operational definition (นิยามปฏิบัติการ) นิยามซึ่งไม่เพียงให้ความหมายเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวแปรที่มุ่งศึกษา แต่ยังกล่าวรวมถึงระเบียบวิธีการวัดค่าของตัวแปรดังกล่าวอีกด้วย
             Statistical control (การควบคุมทางสถิติ) วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณเพื่อแยกผลกระทบของตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวแปรขึ้นไป ออกจากความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคู่ใดคู่หนึ่ง ตัวแปรที่ถูกใช้ในการควบคุมดังกล่าวก็คือ ปัจจัยทดสอบ (Test factor) ซึ่งเอ็ม โรเซ็นเบิร์ก (M. Rosenberg) ได้จำแนกออกเป็นตัวแปรประเภทต่าง ๆ เช่น ตัวแปรนำ ตัวแปรแทรก ตัวแปรกด ตัวแปรแปลกปลอม และตัวแปรเงื่อนไข เป็นต้น
             Sampling (การสุ่มตัวอย่าง)กระบวนการเลือกกลุ่มบุคคล หรือกลุ่มตัวการที่มีขนาดจำกัด เพื่อให้เป็นตัวแทนของประชากรที่มีขนาดใหญ่ การสุ่มตัวอย่างอาจดำเนินการได้ทั้งที่มีลักษณะอาศัย และไม่อาศัยกรอบทฤษฏีความน่าจะเป็นในการวิจัยสำรวจ การสุ่มตัวอย่างที่ประยุกต์ใช้ก็คือประเภทที่อยู่ภายใต้กรอบทฤษฎีความน่าจะเป็น
              Subject (ตัวการ) บุคคลหรือหน่วยของการศึกษาซึ่งนักวิทยาศาสตร์สังคมมุ่งใช้ในการดำเนินงานศึกษาค้นคว้า คำว่า Subject ถูกนำมาใช้เพื่อแยกสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์สังคมศึกษาให้แตกต่างจากสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ธรรมชาติศึกษา ซึ่งเรียกว่า Object บางครั้งในการวิจัยทดลอง ตัวการอาจถูกเรียกว่า ผู้มีส่วนร่วมในการทดลอง (Experimental participant)
              Variable (ตัวแปร) คุณภาพ หรือ ลักษณะการซึ่งประกอบขึ้นด้วยค่าต่าง ๆ ตั้งแต่สองค่าขึ้นไป การวัดค่าตัวแปร อาจจำแนกได้อย่างน้อยเป็น 4 ระดับ คือ (ก) ระดับจัดกลุ่ม (ข) ระดับจัดลำดับ (ค) ระดับอันตรภาค และ (ง) ระดับอัตราส่วน
               Administrative Research ( การวิจัยทางการบริหาร ) เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยทางสังคมศาสตร์ที่ตกอยู่ใต้อิทธิพลของการวิจัย 3 แนวทางคือแนวปฏิฐานนิยม แนวตีความ และแนวการวิพากษ์
                Critical Approach (การวิจัยตามแนววิพากษ์ ) เป็นการวิจัยที่มีจุดเน้นอยู่ที่การปฏิบัติ เป้าหมายของการวิจัยตามแนววิพากษ์ คือการวิพากษ์วิจารณ์เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้น
                Classroom Research ( การวิจัยในชั้นเรียน ) เป็นการวิจัยปฏิบัติการ ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นการแสวงหาคำตอบอย่างเป็นกระบวนการและระบบที่น่าเชื่อถือเท่านั้น แต่เป็นการคิดค้นพัฒนาที่เน้นการแก้ปัญหาในสภาพการณ์หรือบริบทของชั้นเรียน โดยครูผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

 

อ้างอิง

[ออนไลน์] ชื่อเว็บไซต์ : http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:OVvSxUD-MlEJ:kalai.exteen.com/20051125/entry  เข้าถึงเมื่อ 10/ 12/ 2555
[ออนไลน์] ชื่อเว็บไซต์ : http://kalai.exteen.com/20051125/entry  เข้าถึงเมื่อ 10/ 12/ 2555
[ออนไลน์] ชื่อเว็บไซต์ : https://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:DwIs29aCrQcJ:www.dss.nrru.ac.th/download/sangpet.doc  เข้าถึงเมื่อ 10/ 12/ 2555

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น